ADSL (Asymmetrical Digital Subscriber Ling)
ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ที่ขนาด bandwidth สูง สำหรับสายโทรศัพท์บ้านและธุรกิจ ADSL มีข้อแตกต่าง จากโทรศัพท์ธรรมดา เนื่องจาก ADSL ให้การติดต่อแบบต่อเนื่อง โดย ADSL มีลักษณะอสมมาตร (asymmetric) จากการแบ่งช่อง ส่งข้อมูลให้การส่งไปยัง ผู้ใช้มากและมีช่องรับข้อมูลน้อย ADSL สามารถทำงานร่วมกับระบบอนาล็อก (เสียง) ในสายเดียวกัน ตามปกติ ADSL ใช้อัตราการส่งไปยังผู้ใช้ปลายทาง (downstream data rate) ตั้งแต่ S/2 Kbps ถึง 6 Mbps รูปแบบของ ADSL ที่รู้จักในชื่อ Universal ADSL หรือ glite ได้รับการกำหนดเบื้องต้นโดย ITU-TS
ADSL ได้รับการออกแบบให้ใช้ประโยชน์ จากการติดต่อทางเดียว สำหรับการสื่อสารแบบมัลติมีเดีย ซึ่งมีความต้องการในการส่งข้อมูล ไปผู้ใช้มาก และรับข้อมูลการควบคุม เพียงเล็กน้อย การทดลองใช้กับผู้ใช้จริงของ ADSL ในสหรัฐ ได้ทดลองในช่วง 1996 ถึง 1998 และการติดตั้งเพื่อใช้งานในสหรัฐได้เริ่มในปี 2000 ADSL ซึ่งเป็นรูปแบบ อีกแบบหนึ่งของ DSL คาดว่าจะได้รับการใช้งานโดยทั่วไปในเขตเมือง
SDSL (Sysmmetric Digital Subscriber Ling)
DSL ( Digital Subscriber Line ) เป็นเทคโนโลยี สำหรับการนำสารสนเทศด้วย bandwidth สูงไปที่บ้านหรือธุรกิจขนาดเล็ก ซึ่งสูงกว่าสายโทรศัพท์แบบเดิม xDSL อ้างถึง DSL ประเภทต่าง ๆ เช่น ADSL, HDSL และ RADSL ถ้าหากที่ตั้งที่ต้องการใช้บริการที่อยู่ใกล้กับบริษัทโทรศัพท์ที่ได้บริการ DSL จะสามารถได้รับข้อมูลที่ความเร็วได้ถึง 6.1 megabits ต่อวินาที ( Mbps ) เพื่อภาพเคลื่อน เสียง และภาพ 3 มิติ โดยที่การเชื่อมต่อแบบดั้งเดิมมีความเร็วจาก 1.544 Mbps ถึง 512 Kbps ในการส่งไปที่ผู้ใช้และรับกลับ 128 Kbps สาย DSL ส่งได้ทั้งข้อมูลและเสียงแบบต่อเนื่อง ซึ่งการติดตั้ง DSL เริ่มต้นในปี 1998 และจะขยายตัวต่อไปในสหรัฐและที่อื่น ๆ Compaq, Intel, และ Microsoft กำลังทำงานร่วมกับบริษัทโทรศัพท์ ในการพัฒนามาตรฐานและการติดตั้งที่สะดวกของ ADSL เรียกว่า G.Lite นอกจากนี้ DSL ได้รับการคาดว่าจะมาแทนที่ระบบ ISDN ในหลาย ๆ พื้นที่ และพร้อมด้วย cable modem เพื่อให้บริการด้านมัลติมีเดียและภาพ 3 มิติ ตามที่อยู่อาศัยการทำงาน
ระบบโทรศัพท์แบบดั้งเดิมติดต่อกับที่อยู่อาศัยหรือธุรกิจขนาดเล็ก ด้วยสายโทรศัพท์ที่เรียกว่า Twisted pair โดยระบบโทรศัพท์แบบนี้เป็นการสับและส่งสัญญาณแบบอะนาล็อก อุปกรณ์นำเข้าสัญญาณจะแปลงเสียงเป็นกระแสไฟฟ้าด้วย amplitude และความถี่เพื่อส่งไปยังปลายทาง ในการรับสัญญาณจะแปลงสัญญาณแบบอะนาล็อก ให้เป็นเสียง ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์มี modem ในการแปลงสัญญาณ อะนาล็อก ให้เป็นค่า 0 และ 1 จึงเรียกว่า ระบบดิจิตอล
จากการส่งสัญญาณอะนาล็อก โดยผ่านสายทองแดงแบบ Twisted pair สามารถใช้กับโมเด็มขนาด 56 Kbps ทำให้ ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกจำกัด ด้วยระบบสายโทรศัพท์ดังกล่าว
Digital Subscriber Line เป็นเทคโนโลยีที่มีข้อสมมุติว่า ข้อมูลไม่ต้องเปลี่ยนเป็นสัญญาณอะนาล็อก โดยให้ข้อมูลแบบดิจิตอลส่งผ่านไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง และยินยอมการส่งไปยังผู้ใช้สามารถใช้ขนาด bandwidth ที่กว้าง ในขณะที่มีการแบ่ง bandwidth บางส่วนสำหรับการส่งสัญญาณ อะนาล็อก เพื่อที่จะทำให้สามารถใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ในสายเดียวกัน
DSL ( Digital Subscriber Line ) เป็นเทคโนโลยี สำหรับการนำสารสนเทศด้วย bandwidth สูงไปที่บ้านหรือธุรกิจขนาดเล็ก ซึ่งสูงกว่าสายโทรศัพท์แบบเดิม xDSL อ้างถึง DSL ประเภทต่าง ๆ เช่น ADSL, HDSL และ RADSL ถ้าหากที่ตั้งที่ต้องการใช้บริการที่อยู่ใกล้กับบริษัทโทรศัพท์ที่ได้บริการ DSL จะสามารถได้รับข้อมูลที่ความเร็วได้ถึง 6.1 megabits ต่อวินาที ( Mbps ) เพื่อภาพเคลื่อน เสียง และภาพ 3 มิติ โดยที่การเชื่อมต่อแบบดั้งเดิมมีความเร็วจาก 1.544 Mbps ถึง 512 Kbps ในการส่งไปที่ผู้ใช้และรับกลับ 128 Kbps สาย DSL ส่งได้ทั้งข้อมูลและเสียงแบบต่อเนื่อง ซึ่งการติดตั้ง DSL เริ่มต้นในปี 1998 และจะขยายตัวต่อไปในสหรัฐและที่อื่น ๆ Compaq, Intel, และ Microsoft กำลังทำงานร่วมกับบริษัทโทรศัพท์ ในการพัฒนามาตรฐานและการติดตั้งที่สะดวกของ ADSL เรียกว่า G.Lite นอกจากนี้ DSL ได้รับการคาดว่าจะมาแทนที่ระบบ ISDN ในหลาย ๆ พื้นที่ และพร้อมด้วย cable modem เพื่อให้บริการด้านมัลติมีเดียและภาพ 3 มิติ ตามที่อยู่อาศัยการทำงาน
ระบบโทรศัพท์แบบดั้งเดิมติดต่อกับที่อยู่อาศัยหรือธุรกิจขนาดเล็ก ด้วยสายโทรศัพท์ที่เรียกว่า Twisted pair โดยระบบโทรศัพท์แบบนี้เป็นการสับและส่งสัญญาณแบบอะนาล็อก อุปกรณ์นำเข้าสัญญาณจะแปลงเสียงเป็นกระแสไฟฟ้าด้วย amplitude และความถี่เพื่อส่งไปยังปลายทาง ในการรับสัญญาณจะแปลงสัญญาณแบบอะนาล็อก ให้เป็นเสียง ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์มี modem ในการแปลงสัญญาณ อะนาล็อก ให้เป็นค่า 0 และ 1 จึงเรียกว่า ระบบดิจิตอล
จากการส่งสัญญาณอะนาล็อก โดยผ่านสายทองแดงแบบ Twisted pair สามารถใช้กับโมเด็มขนาด 56 Kbps ทำให้ ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกจำกัด ด้วยระบบสายโทรศัพท์ดังกล่าว
Digital Subscriber Line เป็นเทคโนโลยีที่มีข้อสมมุติว่า ข้อมูลไม่ต้องเปลี่ยนเป็นสัญญาณอะนาล็อก โดยให้ข้อมูลแบบดิจิตอลส่งผ่านไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง และยินยอมการส่งไปยังผู้ใช้สามารถใช้ขนาด bandwidth ที่กว้าง ในขณะที่มีการแบ่ง bandwidth บางส่วนสำหรับการส่งสัญญาณ อะนาล็อก เพื่อที่จะทำให้สามารถใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ในสายเดียวกัน
HDSL (High-bit-rate-Digital Subscriber Line)
DSL ย่อมาจาก Digital Subscriber Line คือเทคโนโลยีโมเด็ม ที่ทำให้คู่สายทองแดงธรรมดา ให้กลายเป็นสื่อสัญญาณดิจิตอล ความเร็วสูง โดยใช้เทคนิคการ เข้ารหัสสัญญาณข้อมูล (Modulation) ในย่านความถี่ที่สูงกว่า การใช้งานโทรศัพท์โดยทั่วไป ทำให้เราสามารถส่งข้อมูล ในขณะเดียวกับการใช้งานโทรศัพท์ได้ โดยมีเทคโนโลยีในตระกูล DSL อยู่หลายเทคโนโลยีเช่น
· HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line
· SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line
· IDSL: ISDN Digital Subscriber Line
· ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line
· RADSL: Rate Adaptive Digital Subscriber Line
· VDSL: Very high bit rate Digital Subscriber Line
โดยแต่ละเทคโนโลยีมีคุณสมบัติแตกต่างกันดังนี้ (ดูตารางประกอบ)
Down | Up | Mode | Distance | Wire(n) | Voice | |
HDSL | 1.5 Mbps | 1.5 Mbps | Symmetric | 3.6 Km | 4 | No |
SDSL | 1.5 Mbps | 1.5 Mbps | Symmetric | 3 Km | 2 | No |
IDSL | 128 Kbps | 128 Kbps | Symmetric | 4.5 Km | 2 | No |
ADSL | 8 Mbps | 1 Mbps | Asymmetric | 5 Km | 2 | Yes |
VDSL | 52 Mbps | 2.3 Mbps | Asymmetric | 1 Km | 2 | Yes |
- ความเร็วในการรับ (Down) และ ส่ง (Up) ข้อมูล แต่ละเทคโนโลยีจะไม่เท่ากัน
- Mode ของการรับส่งข้อมูล หากเทคโนโลยีใดมีอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลเท่ากันจะเรียกว่า Symmetric(ความสมมาตร) หากอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลไม่เท่ากันจะเรียกว่า Asymmetric(ความสมมาตร) เช่น ADSL มีอัตราเร็วในการรับข้อมูลสูงถึง 8 Mbps และมีอัตราเร็วในการส่งสูงสุดเพียง 1 Mbps แต่โดยทั่วไป เรามักมีการ Download หรือรับข้อมูล มากกว่า Upload หรือส่งข้อมูล ดังนั้น ADSL จึงสามารถรองรับการใช้งานได้เป็นอย่างดี
- ระยะทางที่สามารถ รับ-ส่ง ข้อมูล (Distance) ระยะทางที่สามารถทำงานได้ของแต่ละเทคโนโลยีจะไม่เท่ากัน โดยที่เทคโนโลยีที่มีความเร็วสูงขึ้น มักจะมีระยะสามารถทำงานได้สั้นลง เช่น VDSL ซึ่งมีความเร็วสูงมากคือ 52 Mbps แต่จะสามารถทำงานได้ในระยะทางไม่เกิน 1 กิโลเมตรเท่านั้น
- จำนวนสายที่ใช้ (Wire) โดยในช่วงต้นของการพัฒนานั้น HDSL ถูกคิดค้นให้ใช้ถึง 2 คู่สายหรือสายทองแดง 4 เส้น แต่ระยะต่อมาสามารถพัฒนาให้สามารถ รับ-ส่ง ข้อมูลได้บนคู่สายทองแดงเพียง 1 คู่เท่านั้น และยังสามารถมีอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลสูงขึ้นด้วย
- ความสามารถในการใช้โทรศัพท์ระหว่าง รับ-ส่ง ข้อมูล (Voice Service) เทคโนโลยี DSL ที่เกิดขึ้นในระยะหลังจะถูกพัฒนาขึ้น ให้สามารถใช้งาน โทรศัพท์ได้ด้วยระหว่างที่มีการ รับ-ส่ง ข้อมูล เช่น ADSL และ VDSL
โดยในขณะนี้เทคโนโลยี ADSL เป็นเทคโนโลยีที่ผู้ให้บริการเลือกใช้มากที่สุด เพราะเป็นเทคโนโลยีที่มี ความเร็วสูง และระยะทางที่ทำงานได้ค่อนข้างไกล ซึ่งเหมาะสม ที่จะนำมาประยุกต์ใช้งาน ในปัจจุบันมากที่สุด แต่อย่างไรก็ตาม ในอนาคตอันใกล้เทคโนโลยี VDSL ซึ่งมีความเร็วสูงถึง 52
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น